เมื่อต้องการเข็นขึ้นพื้นที่ต่างระดับ ผู้ดูแลควรเหยียบบริเวณแกนโลหะ(Tipping bar) และกดน้ำหนักลงที่มือจับ บริเวณด้านหน้าของรถเข็นจะถูกยกขึ้น หลังจากนั้นยกมือจับขึ้น เพื่อยกล้อด้านหลัง
คู่มือการใช้งานรถเข็นวีลแชร์ รุ่น GK869LAJ
ลงทะเบียนรับประกันสินค้าออนไลน์ ที่นี่
ส่วนประกอบของรถเข็นวีลแชร์

- พนักพิงหลัง
- มือจับ
- ที่ล็อกล้อ
- เบรกมือ
- ที่วางเท้า
- ล้อกันหงาย
วิธีการใช้งาน
วิธีการปรับล้อกันหงาย
วิธีการกางรถเข็น
- ปรับส่วนพนักพิงหลังขึ้น
- กางส่วนที่นั่งออก ดังภาพ
- ปรับที่วางเท้าลง
- ควรพับที่วางเท้าขึ้น เมื่อผู้ป่วยต้องการลุกขึ้นหรือนั่งลง
- ที่วางเท้าควรอยู่สูงเหนือพื้นไม่น้อยกว่า 7 เซนติเมตร เพราะอาจชนกับสิ่งกีดขวางต่าง ๆ ขณะเข็นเคลื่อนย้าย และเป็นสาเหตุให้รถเข็นเสียสมดุล
วิธีการปรับล้อกันหงาย
![]() |
กรณีพับรถเข็น ควรปรับล้อกันหงายให้อยู่ในระดับต่ำสุด |
วิธีการปรับพนักวางแขน
![]() |
|
![]() |
|
วิธีการปรับพนักพิงหลัง
![]() |
|
ข้อควรระวัง
![]() |
เมื่อผู้ใช้งานต้องการลุกขึ้น หรือนั่งลง ควร มั่นใจว่าเบรกถูกล็อคแล้ว |
![]() |
ไม่ควรเหยียบที่วางเท้าเมื่อต้องการลุกจากรถเข็น เพราะอาจทำให้รถเข็นล้มไปด้านหน้า |
![]() |
เมื่อต้องการยกรถเข็นขึ้นในขณะที่มีผู้ป่วยนั่งอยู่ ไม่ควรยกมือจับ เพราะพนักพิงหลังเป็นชนิดพับเก็บได้ อาจจะทำให้ส่วนพนักพิงหลังเกิดความเสียหาย |
ข้อควรระวัง
![]() |
เมื่อผู้ใช้งานต้องการลุกขึ้น หรือนั่งลง ควร มั่นใจว่าเบรกถูกล็อคแล้ว |
![]() |
ไม่ควรเหยียบที่วางเท้าเมื่อต้องการลุกจากรถเข็น เพราะอาจทำให้รถเข็นล้มไปด้านหน้า |
![]() |
เมื่อต้องการยกรถเข็นขึ้นในขณะที่มีผู้ป่วยนั่งอยู่ ไม่ควรยกมือจับ เพราะพนักพิงหลังเป็นชนิดพับเก็บได้ อาจจะทำให้ส่วนพนักพิงหลังเกิดความเสียหาย |


เมื่อต้องการเข็นรถเข็นในบริเวณที่เป็นพื้นที่ลาดชัน ควรมั่นใจว่าผู้ดูแลอยู่บริเวณด้านหลังของรถเข็น เพื่อป้องกันไม่ให้รถเข็นเกิดการพลิกคว่ำ ขณะเข็นขึ้นรถเข็นควรหันหน้าขึ้นตามทาง แต่สำหรับการเข็นลงควรหันหลังรถเข็น เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย